นวัตกรรม เซลลูโลส จากเศษเหลือทางอุตสาหกรรมเกษตร

เซลลูโลส มีประโยชน์มีส่วนช่วยในการลดปัญหามลภาวะ อีกทางหนึ่งสร้างธุรกิจสร้างสรรค์จากการออกแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าได้อย่างหลากหลาย

สิ่งทอ จากวัสดุธรรมชาติและวัสดุรีไซเคิล

สิ่งทอ ที่ผลิตจากเส้นใยและไหม แต่สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวและใช้ทุกวันอีกอย่างที่อาจจะมองข้ามไปนั่นคือ “เฟอร์นิเจอร์” จนสิ่งทอกลายมาเป็นอุตสาหกรรม

ไอเดียออกแบบ – ตกแต่งด้วย วัสดุแก้ว

วัสดุแก้ว สามารถนำมาตกแต่งบ้านได้ในสไตล์ที่หลากหลาย ที่พัฒนาจากนวัตกรรมวัสดุรีไซเคิลหรือวัสดุธรรมชาติที่ผ่านกรรมวิธีที่นำเป็นเทรนด์แต่งบ้าน

วัสดุขยะ จากงานอีเว้นต์ ทางเลือกใหม่โปรดักต์ยั่งยืน

room ขอแนะนำเหล่า วัสดุขยะ น่าสนใจที่ล้วนแล้วแต่เป็นทางออกของการใช้เศษเหลือจากจัดงานอีเว้นต์แทบทั้งสิ้นไม่ว่า กากกาแฟ เศษอาหาร ขวดพลาสติก

10 โปรดักต์ สีจากธรรมชาติ ยั่งยืน ปลอดภัย ไร้สารเคมี

โปรดักซ์ สีจากธรรมชาติ จากดอกไม้ ต้นไม้ จนไปถึงวัสดุเศษเหลือในร้านอาหาร คาเฟ่ผ่านกรรมวิธีสกัดมาเป็นสีที่นำมาใช้แทนสีโปสเตอร์จากอุตสาหกรรม

THOC หัตถกรรมกระเป๋าจากเส้น “ตอกไม้ไผ่” โดย COTH studio

COTH studio กับผลงาน THOC หัตถกรรมกระเป๋าจากเส้น “ตอกไม้ไผ่” ที่ตั้งใจหยิบใช้เทคนิคของงานจักสานโบราณ “ไม้ไผ่ขด” ที่ซ่อนอยู่ในงานเครื่องเขิน มาผสมกับเทคนิคสมัยใหม่ เพื่อให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ของยุคปัจจุบัน จากความชื่นชอบและคุ้นเคยในการทำงานคราฟต์ ร่วมกับชุมชนมาตลอด 6 ปี ในฐานะ COTH studio ทำให้ได้มีโอกาสเดินทางไปตามหมู่บ้านต่าง ๆ จนเมื่อ 4 ปีก่อน ดีไซเนอร์ได้เดินทางไปพบกับป้าสร้อย ซึ่งเป็นทายาทของบ้านกันธิมาที่ทำไม้ไผ่ขดเป็นบ้านแรก และเกือบจะเป็นบ้านสุดท้ายในชุมชนศรีปันครัว จังหวัดเชียงใหม่ ทำให้พวกเขาได้มองเห็นศักยภาพของงานหัตถกรรมที่สามารถผลักดันให้ไปได้ไกลกว่าการเป็นแค่โครงสร้างภายในของงานเครื่องเขินที่ปัจจุบันความนิยมน้อยลง กลายเป็นจุดเริ่มต้นที่ COTH studio ได้เข้าไปศึกษา และทดลองเทคนิคร่วมกับป้าสร้อยและครอบครัว โดยพัฒนาและใส่คุณค่าใหม่ให้กับเทคนิคนี้ จนออกมาเป็นไอเดียกระเป๋าแบรนด์ THOC มีที่มาจากเส้น “ตอกไม้ไผ่” โดยคอลเล็กชั่นแรกชื่อ BARE เด่นด้วยการเล่นกับโครงสร้างสัจวัสดุของเทคนิคไม้ไผ่ขดที่ไม่ถูกปิดทับหรือซ่อนอยู่ภายในแบบเดิมอีกต่อไป จากการทำงานในฐานะ COTH studio เป็นเวลากว่า 6 ปี และได้ทำงานร่วมกับชุมชนหัตถกรรมในการทำงาน Functional Art เช่น ของตกแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ทำให้ได้มีโอกาสเจอชุมชน […]

เฌย เก้าอี้ร่วมสมัยที่ถูกปลุกชีพขึ้นมาโดย Rumba Bor

“เราหนีพลาสติกไม่พ้น ถ้าในโลกเรายังเลิกใช้พลาสติกไปเลยทีเดียวไม่ได้ ถ้า product บางชนิดยังเหมาะกับการใช้ material plastic อย่างน้อยก็อยากจะใช้มันให้ยั่งยืน ก็อยากจะใช้งานออกแบบทำให้ พลาสติกเหล่านี้ถูกใช้ด้วยความรัก ไปเนิ่นนาน” Rumba Bor แทนตัวเองว่าเป็น Curator มากกว่า ดีไซเนอร์ พวกเขาพบแบบเก้าอี้ตัวนี้จากโรงงาน King Kitchen และถูกใจในความเชยอันเปี่ยมรสนิยมของมัน จึงได้เลือกนำมาเปลี่ยนวัสดุใหม่ โดยที่สีใสนั่นจะเป็นพลาสติก 50% recycled Polyethylene ชื่อว่า สาคู และสีขาว กะทิ นั้นจะเป็น 100% recycled Polyethylene ซึ่งความยั่งยืนนั้นก็เป็นหนึ่งในสิ่งที่แบรนด์มีความตั้งใจเป็นอย่างมาก “ถ้า product บางชนิดยังเหมาะกับการใช้ material plastic อย่างน้อยก็อยากจะใช้มันให้ยั่งยืน material ที่เปลี่ยนจาก PVC เป็น recycled PP เป็นเพราะ ถึง PVC จะแข็งแรงและตอบโจตความ durable แต่เป็นวัสดุที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ ใช้พลังงานและเคมีเยอะในการผลิต จึงเป็นเหตุผลที่เลือกวัสดุทดแทนเป็น […]

10 Iconic Chair ขวัญใจ ชาวคาเฟ่

เก้าอี้ตัวนั้นชื่อว่าอะไร!? สำหรับสายคาเฟ่ที่มีใจในการเลือกสรรเฟอร์นิเจอร์ชิ้นเด็ดแล้ว การได้วาง Iconic Chair ซักตัวไว้ในร้าน ก็ถือได้ว่าเป็นความฟินแบบหนึ่ง และวันนี้ room จึงอยากชวนทุกคนไปดูกันกับ “10 เก้าอี้ Iconic Chair” ที่เชื่อเหลือเกินว่า หลายๆคนก็ต้องเคยผ่านตากันมาบ้าง ว่าแล้วก็คลิกไปดูต่อกันได้เล้ย! เรื่อง และภาพประกอบ: Wuthikorn Sut

Polyformer เปลี่ยน ขวดพลาสติก (PET)ให้กลายเป็นวัสดุพร้อมพริ้นต์ได้ทันที

นี่คือ เครื่องพิมพ์ที่เปิดให้โหลดแบบ Open Source และพริ้นต์ใช้เองได้! เพื่อ เปลี่ยนขวดพลาสติก(PET)ให้กลายเป็นวัสดุพร้อมพริ้นต์ได้ทันทีด้วยเครื่องพิมพ์ที่เปิดให้โหลดแบบ Open Source และพริ้นต์ใช้เองได้! เพราะกว่า 90% ของขยะพลาสติกทั้งโลกนั้นมาจากขวดพลาสติก(PET) จะดีกว่าไหมถ้าเครื่องพิมพ์สามมิติสามารถใช้งานขยะเหล่านี้เป็นวัตถุดิบได้โดยตรง นักออกแบบ Reiten Cheng ได้ออกแบบเครื่องพิมพ์นี้อย่างมุ่งมั่น เพื่อลดขั้นตอนการรีไซเคิลลงให้สั้นที่สุด เพราะจากขวดพลาสติกที่ถูกทิ้งกลายเป็นขยะ กว่าจะเข้าสู่ขั้นตอนรีไซเคิลนั้น ไม่ใช่เพียงแค่เวลาที่เสียไป แต่ยังรวมถึงทรัพยากรและพลังงานที่ต้องใช้ไประหว่างทางอีกด้วย การทำงานของเครื่อง Polyformer นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วนหลักๆก็คือ การสร้างวัตถุดิบสำหรับพิมพ์ หรือที่เรียกว่าเส้นพลาสติก Filament และส่วนที่นำเข้าสู่การพิมพ์นั่นเอง Filament นั้นส่วนใหญ่มีความอ่อนไหวต่อความชื้นซึ่งจะเป็นผลให้การพิมพ์นั้นขาดช่วงไม่ราบรื่นได้ การสร้างวัตถุดิบพร้อมใช้โดยตรง ในทางทฤษฏีจึงเป็นการลดขั้นตอนการเก็บที่เสี่ยงต่อความชื้น ทั้งยังสามารถผลิตเพียงเท่าที่ต้องการได้อีกด้วย ขั้นแรกนั้นเมื่อได้ขวดพลาสติกเก่าที่จะนำมาใช้ป้อนเข้าสู่เครื่อง เครื่องจะเป็นการตัดให้ขวดนั้นกลายเป็นริ้วเส้นก่อน เมื่อเครื่องจับปลายริ้วพลาสติกได้ก็จะเริ่มกรีดเข้าสู่ขั้นตอนผลิตโดยอัตโนมัติ เมื่อริ้วพลาสติกผ่านเข้าไปยังเครื่องทำความร้อนภายใน ริ้วเหล่านั้นจะถูกหลอมและเกลาให้ได้รูปเป็นเส้น Filament จัดเก็บเข้าสู่กระสวยต่อไป เมื่อขวดหนึ่งหมดก็ใส่ขวดต่อไปเครื่องจะเชื่อม Filament เหล่านั้นให้กลายเป็นเส้นต่อเนื่องกันจนเต็มกระสวย หรือเท่าที่ต้องการในการใช้งานนั่นเอง จากนั้นก็นำกระสวยไปติดตั้งลงในเครื่องพิมพ์เพื่อใช้งานเป็นอันจบขั้นตอน Reiten Cheng ตั้งใจออกแบบเครื่องนี้แบบ Open Source หรือก็คือแพลตฟอร์มเปิดที่ใครก็สามารถโหลดไปพริ้นต์ใช้งาน และร่วมกันพัฒนาได้ เพราะเทคโนโลยีเหล่านี้ยังคงต้องการการพัฒนาอีกมาก […]

วัสดุธรรมชาติ ออกแบบ จากเศษเหลือ สู่ผลลัพธ์ในความเป็นไปได้ใหม่ของความยั่งยืน !

การสร้างสรรค์วัสดุผ่านเศษเหลือจากธรรมชาติก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ช่วยสร้างให้ “แนวคิดวัสดุหมุนเวียน” หรือ “Circular Economy

วัสดุ กระดาษ จากเศษเหลือ อุตสาหกรรมเกษตร

วัสดุ กระดาษ BCG ! เปลี่ยนวงจรมลพิษจากการ “เผา” สู่งานออกแบบใหม่จากเศษเหลือทิ้งทางอุตสาหกรรมเกษตร การเวียนใช้เศษเหลือทางอุตสาหกรรมเกษตร

พลาสติก ดีไซน์ ใหม่จากการ รีไซเคิล

พลาสติกนี้คือผู้ร้ายเสมอไป เพราะในปัจจุบันนั้นได้มีการคิดแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวในหลากหลายวิธีการ ไม่ว่าจะเป็นการลดความต้องการ การใช้ซ้ำ รีไซเคิล จนนำไปสู่งานออกแบบที่สร้างสรรค์ต่างๆ เป็นการหาหนทางใหม่ๆในการใช้วัสดุสุดทนที่ยากจะย่อยสลายนี้ทั้งยังเพิ่มมูลค่าให้กับพลาสติกไ้ด้อีกทางหนึ่งด้วย

ไม้แปรรูป ผสานหลากวัสดุ เพิ่มมิติความเป็นไปได้ใน งานออกแบบ

ไม้เป็นวัสดุที่หาง่าย ใกล้ตัว สามารถใช้หมุนเวียน ยั่งยืนในระยะยาวเพราะปลูกทดแทนได้ room ได้รวบรวมสารพัด ไม้แปรรูป และวัสดุอื่น ๆ เมื่อนำมาผสานรวมกันแล้วได้สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เป็นวัสดุตกแต่งปิดผิว ใช้ในงานออกแบบ ช่วยสร้างมิติ และยังยกระดับงานฝีมือหัตถกรรม เช่นงานสานที่ตอบโจทย์งานได้หลากหลายรูปแบบ

The Brewing Project x Benxblues ลายเส้นเอกลักษณ์ที่สะท้อน รส และ เรื่อง

The Brewing Project จึงเริ่มต้นสร้างสรรค์ฉลากที่ถ่ายทอดเรื่องราวและสื่อสารถึงรสชาติผ่านลายเส้นภาพประกอบ โดยยึดไอเดียความเป็นไทย และแนวคิดที่ว่าฉลากของบรรจุภัณฑ์นั้นสำคัญไม่ต่างจากตัวผลิตภัณฑ์เลย

รถเกษตรอเนกประสงค์ไฟฟ้าพลัง Ai ลุคมินิมัล KIBB BY CAKE

เกษตรสายเท่เตรียมรับแรงกระแทก! เพราะนี่คือรถอเนกประสงค์ไฟฟ้าที่จะมาเขย่าวงการรถไถ! เพราะนี่คือรถเกษตรอเนกประสงค์ มันใช้ไฟฟ้า และมันมีระบบ ai อัตโนมัติ และนี่คือ “Project Kibb”งานออกแบบรถอเนกประสงค์ไฟฟ้าที่ตั้งใจให้สามารถเดินทางได้ในทุกสภาวะเพื่อส่งเสริมการทำงานเกษตรในที่ทุรกันดารได้มากกว่าที่เคย “ความยั่งยืนทางอาหาร และการทำเกษตรกรรมนั้นเป็นอีกสิ่งที่เราไม่ควรมองข้าม และแม้แต่บริษัทรถไฟฟ้าอย่างเรา ก็มีส่วนช่วยให้สิ่งเหล่านี้ยั่งยืนขึ้นได้เช่นกัน”- Stefan Ytterborn, CEO and founder of CAKE ไม่เพียงแต่รูปลักษณ์ที่ดูสมบุกสมบัน และการเชื่อมต่อปรับแต่งการใช้งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะใช้นั่ง ใช้ลาก หรือขนของแบบกระบะบรรทุก แต่ Kibb ยังมาพร้อมกับฮาร์ดแวร์ที่สามารถอัพเดตการทำงานร่วมกับการทำเกษตร ทั้งวิธีการหว่าน ไถ และเก็บเกี่ยวที่แตกต่างกันไป ถ้ายังนึกไม่ออกให้นึกว่าเรามีโดรนอัตโนมัติที่สามารถช่วยเราทำงานเกษตรได้นั่นเอง ใกล้เคียงมาก! จากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาฝึกงานที่บริษัท Fanny Jonsson สู่การได้รับโอกาสในการเป็นดีไซเนอร์ ของ Cake และสานต่อโครงการที่น่าสนใจนี้ “มันเป็นเหมือนการทดแทนความเป็นไปได้ที่ดีกว่า สู่อนาคตที่ดีกว่าด้วยเทคโนโลยี และการคิดคำนึงถึงวันข้างหน้าที่จะลดการเผาไหม้ และมลพิษลง รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของความยั่งยืนทางการเกษตรไปพร้อมกัน” แน่นอนว่า Kibb มาพร้อมกับระบบไฟฟ้า และการชาร์จทั้งแบบ On-Grid และ Off-Grid Solarcell จาก […]

ขวดซอส Kikkoman’s Soy Sauce Dispenser ดีไซน์ที่ดี จนกลายเป็นเรื่องธรรมดา

ขวดซอส Kikkoman อาจไม่เคยอยู่ในสายตา เหมือนเราไม่รู้ตัวว่ากำลังหายใจ ขวดโชยุใส ๆ ใส่น้ำดำฝาสีแดงเป็นภาพที่เคยชินจนไม่ทันสังเกตแต่

The Signature Bench เก้าอี้ม้านั่ง Industrial Craft การผสมผสานจากหลากวัสดุ

“วัสดุแบบอุตสาหกรรม ทวีคุณค่าด้วยงานฝีมือ” นี่คือ เก้าอี้ม้านั่ง จากหลากหลายวัสดุที่นำมาผสานเข้าด้วยกัน ระหว่างสีดำด้านลุคขรึมจากอะลูมิเนียมกับสีของทองเหลืองที่ดูเงาหรูหรา เชื่อมด้วยเทคนิคพิเศษจนได้เก้าอี้ดีไซน์ใหม่ในความลงตัวระหว่างงานฝีมือกับรูปลักษณ์ร่วมสมัยแบบ Industrial Style

Tex -Tile วัสดุ กระเบื้องผ้า จากงานฝีมือที่ใช้งานได้ทั้งภายนอกภายในตอบโจทย์ความต้องการของงานสร้างสรรค์

วัสดุ กระเบื้องผ้า วิถีทางหัตถกรรมเสริมมูลค่างานออกแบบให้น่าสนใจและยั่งยืน ผลงานโดย ease สตูดิโอที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องผ้า ผลิตโปรเจ็กต์ Artwork ใหม่จากวัสดุ Tex-Tile