รวมงานช่างที่คุณก็ซ่อมเองได้

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ งานช่าง เหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ

บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด งานช่าง อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานช่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า… เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า งานช่าง 

อ่าน : “ผนังร้าว” ซ่อมเองได้ด้วยงบหลักร้อย

สนิมกินรั้วบ้าน

คู่อริตลอดกาลของเหล็กก็คือ “สนิม” ส่วนใหญ่มักเกิดกับบริเวณที่อยู่ ภายนอกซึ่งโดนความชื้น บริเวณที่เปียกสลับแห้งจะเกิดสนิมได้เร็วกว่าบริเวณที่เปียก หรือสัมผัสน้ำตลอดเวลา สำหรับวิธีบำรุงรักษาเจ้ารั้วเหล็กอย่างง่ายๆ มีดังนี้

ขั้นตอนการทำงาน

1. ใช้กระดาษทรายขัด เหล็กหรือแปรงลวดขัด บริเวณที่เป็นสนิมออก ให้มากที่สุด จากนั้น ทำความสะอาดพื้นผิว ให้ปราศจากคราบไขมัน ฝุ่น และสิ่งสกปรกต่างๆ

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

2.ใช้น้ำยาแปลงสภาพสนิม (Rust Converter)มาทาให้ทั่วพื้นผิว ทิ้งไว้ประมาณ 10 – 15นาที น้ำยาจะเปลี่ยนสนิมเป็นสีดำเพื่อยับยั้งการเกิดสนิมขึ้นใหม่ จากนั้นทาสีทับหน้าตามสีสันที่เราชื่นชอบ

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS น้ำยาแปลงสภาพสนิม หรือ บางคนก็เรียกว่า “น้ำยาหยุดสนิม” เหมาะสำหรับใช้ทาเป็นรองพื้น บนพื้นผิวโลหะที่เป็นสนิม ซึ่งมีการเตรียมพื้นผิวไม่ดีพอ สามารถแปลงสภาพพื้นผิว เหล็กที่เป็นสนิมให้เป็นฟิล์ม สีดำ โดยมีให้เลือกใช้งาน ทั้งแบบทาและแบบสเปรย์

สีทาผนังบ้านภายนอกบริเวณชายล่างลอกล่อน

เคยสังเกตไหม ตามบริเวณชายล่างของบ้านซึ่งเป็นผนังปูนทาสี โดยเฉพาะที่สัมผัสกับดินโดยตรงมักเกิดการหลุดลอกของสี สาเหตุ เกิดจากความชื้นที่ซึมขึ้นมาจากชั้นดินสู่ผนังและดันผิวสีจนเกิดการบวม หลุดลอกในที่สุด

ขั้นตอนการทำงาน

1 ใช้เกรียงโป๊ขูดฟิล์ม สีที่เสื่อมสภาพหรือ หลุดลอกออกให้หมด จากนั้นล้างทำความ สะอาด แล้วปล่อย ให้แห้ง

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

2 ทาน้ำยารองพื้นปูน เก่าเพื่อป้องกันความชื้น 1 รอบ ปล่อยทิ้งไว้ ประมาณ 2 – 4 ชั่วโมง แล้วจึงทาน้ำยารองพื้น ปูนเก่าเพื่อเสริมการ ยึดเกาะ หลังจากนั้น ใช้สีน้ำอะคริลิกมาทา ทับหน้าอีก 2 รอบ

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS สีทาผนังบ้านภายนอกบริเวณชายล่างลอกล่อน เคยสังเกตไหม ตามบริเวณชายล่างของบ้านซึ่งเป็นผนังปูนทาสี โดยเฉพาะที่สัมผัสกับดินโดยตรงมักเกิดการหลุดลอกของสี สาเหตุ เกิดจากความชื้นที่ซึมขึ้นมาจากชั้นดินสู่ผนังและดันผิวสีจนเกิดการบวม หลุดลอกในที่สุด การทาสีบ้านไม่ใช่เรื่องที่จะทำกันบ่อยๆ เหมือนการทำความสะอาดบ้าน ทำให้หลายคนไม่รู้ว่าการทาสีบ้านจริงๆ แล้วมีวิธีง่ายๆ ดังนี้ สำหรับพื้นผิวปูนใหม่ให้ทาสีรองพื้น 1 รอบ ทิ้งให้แห้งอย่างน้อย 30 นาที – 2 ชั่วโมงก่อนทาสีทับหน้า หากเป็นพื้นผิวปูนเก่าควรทาน้ำยา รองพื้นสูตรน้ำมันเพื่อเสริมการยึดเกาะ 1 รอบ ทิ้งให้แห้งอย่างน้อย 12 ชั่วโมงก่อนทาสีทับหน้า ควรทาสีทับหน้าอย่างน้อย 2 รอบหรือจนกลบมิด โดยทิ้งระยะห่างระหว่างการทาสีชั้นแรกและชั้นถัดไปอย่างน้อย 2 ชั่วโมง

ลอกวอลล์เปเปอร์เก่าเพื่อทาสีผนังใหม่

เวลาเบื่อวอลล์เปเปอร์เก่าแล้วต้องการลอกออกเพื่อทาสีใหม่ แต่มักติด ปัญหาที่ผนังบางจุดมีคราบวอลล์เปเปอร์ที่ลอกไม่ออกอยู่มากบ้างน้อยบ้าง หรือบางส่วนก็มีคราบกาวที่ยังติดอยู่ทำให้ผนังไม่สวยงาม บางคนใช้วิธีทาสี ทับ ซึ่งจะได้พื้นผิวที่ไม่เรียบสม่ำเสมอ มาดูวิธีการลอกวอลล์เปเปอร์กันว่า ต้องทำอย่างไรให้ผิวผนังพร้อมเพื่อทาสีใหม่ทับลงไป

ขั้นตอนการทำงาน

1 ลอกผิวหน้าของวอลล์เปเปอร์เก่า ออกให้หมด (เท่าที่สามารถลอกได้) โดยใช้เกรียงในการช่วยแซะ

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

2 ส่วนที่ยังมีกระดาษติดค้างอยู่บนผนัง ให้หากระบอกฉีดน้ำเปล่ามาสเปรย์ ลงบนผิวกระดาษที่เหลือเหล่านี้ ทิ้งไว้ ประมาณ 5 – 10 นาที รอจนกระดาษ พองตัวออกมา แล้วใช้เกรียงแซะออก เบาๆ แต่ถ้ายังไม่ออก ให้ใช้น้ำร้อน ผสมกับน้ำยาปรับผ้านุ่ม อัตราส่วน น้ำ 1 ส่วนต่อน้ำยาปรับผ้านุ่ม 1 ส่วน เพื่อ ช่วยให้ลอกวอลล์เปเปอร์ออกได้ง่ายขึ้น

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

3 เมื่อลอกวอลล์เปเปอร์ออกหมดแล้ว จึงค่อยทาน้ำยารองพื้นปูนเก่าซึ่งมีทั้ง แบบใสและแบบสีขาวเพื่อให้สะดวก และประหยัดเวลาการทาสีขาวรองพื้น ในขั้นตอนนี้ควรติดกระดาษกาวบริเวณ ส่วนขอบบัวและวงกบหน้าต่างไว้ก่อนด้วย เพื่อไม่ให้สีเปื้อนที่ขอบบัวและวงกบ หน้าต่าง จากนั้นจึงทาสีรองพื้นไปที่ผนัง เพื่อให้สีรองพื้นเพิ่มการยึดเกาะระหว่าง สีและพื้นผิวเข้าด้วยกัน และสีรองพื้น ส่วนใหญ่จะมีส่วนผสมของน้ำยากันเชื้อรา ช่วยให้ไม่เกิดเชื้อราบนผนัง แล้วทิ้งไว้ ประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนทาสีทับหน้า อีก 2 รอบ

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS ลอกวอลล์เปเปอร์เก่า เพื่อทาสีผนังใหม่ เวลาเบื่อวอลล์เปเปอร์เก่าแล้วต้องการลอกออกเพื่อทาสีใหม่ แต่มักติด ปัญหาที่ผนังบางจุดมีคราบวอลล์เปเปอร์ที่ลอกไม่ออกอยู่มากบ้างน้อยบ้าง หรือบางส่วนก็มีคราบกาวที่ยังติดอยู่ทำให้ผนังไม่สวยงาม บางคนใช้วิธีทาสี ทับ ซึ่งจะได้พื้นผิวที่ไม่เรียบสม่ำเสมอ มาดูวิธีการลอกวอลล์เปเปอร์กันว่า ต้องทำอย่างไรให้ผิวผนังพร้อมเพื่อทาสีใหม่ทับลงไป นอกจากใช้น้ำเปล่าช่วยในการลอก วอลล์เปเปอร์แล้ว ยังมีน้ำยาลอก วอลล์เปเปอร์ที่ช่วยละลายกาวได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และ หากพื้นผิวมีตำหนิ มีหลุม หรือ มีรอยแตกก็ควรอุดโป๊ด้วยอะคริลิก ฟิลเลอร์แล้วขัดผิวให้เรียบเนียน กลมกลืนกับผนังรอบๆ

พื้นห้องน้ำรั่วซึม

คนส่วนใหญ่มักคิดว่าการผสมน้ำยากันซึมในคอนกรีตและการใช้ ยาแนวคงเพียงพอสำหรับการป้องกันน้ำรั่วซึม แต่ในความเป็นจริงแล้ว ระหว่างการใช้งานยาแนวก็ยังมีโอกาสชำรุดหลุดล่อน หรืออาจมีช่องว่าง ในเนื้อคอนกรีตที่ไม่ได้รับน้ำยากันซึม ปัญหาห้องน้ำรั่วจึงมีให้พบเห็นอยู่ บ่อยครั้ง วิธีแก้ไขก็ไม่ยุ่งยากอย่างที่คิด ตามไปดูกัน

ขั้นตอนการทำงาน

1 เลาะกระเบื้องบริเวณที่จะซ่อมแซมออก โดยให้กินพื้นที่มาก
กว่าบริเวณที่รั่วซึมประมาณ 15 เซนติเมตรรอบรอยรั่ว

2 ใช้แปรงทาวัสดุกันซึมอย่าง WaterBloc 1 รอบ แล้วปล่อย
ทิ้งไว้ราว 24 ชั่วโมง

3 ใช้แปรงทาวัสดุกันซึมซ้ำอีกรอบ แล้วปล่อยทิ้งไว้อีก 24 ชั่วโมง ก่อนปูกระเบื้องให้เรียบร้อยตามเดิม

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS วัสดุกันซึม WaterBloc เป็นพอลิเมอร์ที่มีความยืดหยุ่นสูง ทนน้ำขัง และ กันน้ำซึมได้ดี และทาสีทับได้โดยไม่ต้องรองพื้นใหม่

ขาโต๊ะ – เก้าอี้โยกเยก

กรณีขาโต๊ะหรือขาเก้าอี้โยกเยก มีเสียงดังเอี๊ยดอ๊าดน่ารำคาญ อาจเกิดจากสกรูยึดไม้คลายตัว เราสามารถใช้ไขควงขันสกรูให้แน่นได้ แต่ถ้าเกิดจากเดือยไม้หลวมเพราะผ่านการใช้งานมานาน โดยเฉพาะ เก้าอี้ไม้ซึ่งพบมากตรงบริเวณขาด้านหลังของพนักพิง เราสามารถซ่อม ให้ดีได้ดังเดิม

ขั้นตอนการทำงาน

1 นำระดับน้ำมาวัดระดับเพื่อกำหนดตำแหน่งที่จะติดตั้งเหล็กฉาก เพื่อเสริมความแข็งแรงให้ขาโต๊ะหรือเก้าอี้ไม้ ใช้ดินสอทำ เครื่องหมายไว้ที่บริเวณจุดติดตั้งเหล็กฉากแล้วใช้สว่านเจาะรูตาม

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

2 ใช้ตะปูเกลียวยึดเหล็กฉากให้แน่น แต่ถ้าต้องการให้ มีความแข็งแรงเป็นพิเศษ โดยเฉพาะเก้าอี้ก็ให้ติดยึดเหล็กฉาก ทั้งด้านล่างและด้านบน

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS กรณีขาโต๊ะหรือขาเก้าอี้เดิมมีการตีตะปูยึดขาไว้ และมีส่วนที่ยื่นหรือเกิน ออกมาอาจเกิดอันตรายได้ ต้องถอดออกมาให้หมดหรือใช้ค้อนตอกตะปู ย้อนกลับไป แต่ถ้าเนื้อไม้แข็งมาก แนะนำให้หักตะปูทิ้ง โดยใช้คีมหนีบ ตะปูแล้วโยกซ้ายโยกขวาให้ตะปูที่โผล่ออกมาจากเนื้อไม้หลุดไป

เปลี่ยนลูกบิดประตู

ลูกบิดประตูเมื่อใช้งานไปนานๆ ก็เริ่มหลวม ใช้งานไม่ดีดังเดิม หรือ สีไม่สวยเหมือนตอนใหม่ๆ แล้วเราจะทนอยู่อย่างนี้ทำไม ว่าแล้วมาเปลี่ยน ลูกบิดกันเถอะ รับรองไม่ยาก

ขั้นตอนการทำงาน

1 เริ่มด้วยการหารูเล็กๆ ที่บริเวณหัวลูกบิด ประตูด้านใน จากนั้นให้ใช้โลหะปลายแหลม กดไปในรูเพื่อให้แกนล็อกลูกบิดคลายตัวออก

2 ใช้มือดึงหัวลูกบิดออกมา แล้วงัดฝาครอบ หรือคลายเกลียวออกเพื่อให้เห็นโครงสร้าง ภายในของลูกบิด จากนั้นใช้ไขควงขันสกรู ออกจากแผ่นรับแรงกระแทก แล้วดึงลูกบิด ออกมาทั้งชุด

3 เริ่มติดตั้งลูกบิดประตูใหม่ด้วยการใส่ ชุดแกนล็อกที่สันประตูแล้วขันสกรูให้แน่น

4 ใส่ลูกบิดส่วนที่อยู่ด้านนอกของห้องก่อน ตามด้วยแผ่นรับแรงกระแทก แล้วยึดสกรู ให้แน่นทุกจุด จากนั้นใส่ฝาครอบ และหัวลูกบิดด้านในให้เรียบร้อย เมื่อติดตั้งเสร็จให้ทดลองไขกุญแจแล้วขยับไปมาเพื่อหาข้อบกพร่องต่างๆ ก็จะสามารถใช้งานได้ทันที

TIPS ลูกบิดประตูมีให้เลือกหลายชนิด จึงต้องเลือกให้เหมาะกับงานและความ ต้องการของผู้ใช้
ลูกบิดมาตรฐาน เหมาะกับประตูทั่วไปที่ต้องใช้การล็อกจากด้านในและ ใช้กุญแจไขจากด้านนอก เช่น ประตูหน้าบ้านหรือประตูห้องนอน
ลูกบิดห้องน้ำ เป็นลูกบิดที่ไม่ต้องใช้กุญแจ ใช้การล็อกจากด้านใน ส่วนด้านนอกสามารถปลดล็อกได้ด้วยเหรียญ เพราะเน้นเรื่องความปลอดภัย เช่น เมื่อเกิดอุบัติเหตุภายในห้องน้ำ
มือจับแบบเขาควาย เหมาะสำหรับผู้ที่ไม่ถนัดในการใช้ลูกบิด ได้แก่ ผู้สูงอายุหรือผู้ที่ต้องนั่งรถเข็น เพราะสามารถเปิดประตูได้ง่ายขึ้นเนื่องจาก มีแขนยื่นยาวออกมา

ท่อน้ำทิ้งของอ่างซิงค์อุดตัน

เมื่ออ่างซิงค์หรืออ่างล้างจานในบ้านเกิดอุดตันเพราะมีสิ่งไม่พึงประสงค์ ไปขวางทางเดินของน้ำ อาทิ เศษอาหาร เศษขยะ เส้นผม ฯลฯ เรามีวิธี แก้ปัญหาอย่างง่ายๆ ที่ทำได้ด้วยตัวเอง ดังนี้

ขั้นตอนการทำงาน

1 เบื้องต้นเติมน้ำลงไปประมาณ ครึ่งอ่าง จากนั้นใช้ปั๊มลมยางครอบ ที่รูระบายน้ำ ปั๊มขึ้น – ลงเร็วๆ แล้วรีบ ยกขึ้นจากน้ำทันที ถ้าน้ำที่ขังไว้สามารถ ไหลลงท่อน้ำทิ้งได้สะดวก หมายความว่า เรากำจัดสิ่งอุดตันภายในท่อน้ำทิ้งได้ สำเร็จ แต่ถ้ายังไม่ได้ผล ต้องลอง ทำซ้ำๆ อีก 2 – 3 รอบ

2 หากวิธีแรกไม่ได้ผล ให้ปิดวาล์วน้ำ แล้วใช้คีมคอม้าหรือประแจเลื่อนมา คลายเกลียวของท่อดักกลิ่น ซึ่งติดตั้งอยู่ ใต้อ่างซิงค์ออกมาล้างทำความสะอาด เพื่อขจัดสิ่งอุดตันต่างๆ จากนั้นใช้เทป พันเกลียวมาพันเกลียวท่อดักกลิ่น เพื่อป้องกันน้ำรั่วซึมและฟันเกลียว เสียหาย แล้วนำท่อมาติดตั้งเข้าที่เดิม เปิดวาล์วน้ำเพื่อดูการไหลของน้ำอีกครั้ง

3 ถ้าการลงมือด้วยการถอดท่อดักกลิ่น ออกมาล้างทำความสะอาดแล้วยังไม่ได้ผล อีก สายล้างท่อหรือ “งูเหล็ก” น่าจะเป็น ผู้ช่วยที่ดี เพียงสอดปลายสายเข้าไป ในท่อระบายน้ำทิ้งอย่างช้าๆ แล้วบีบ ด้ามจับที่มีลักษณะคล้ายปืนฉีดน้ำเพื่อ ให้พลาสติกตรงปลายกางออก เพื่อเกี่ยว หรือดึงสิ่งอุดตันให้หลุดออกไปจากท่อ

4 กรณีที่อ่างซิงค์ได้รับการออกแบบ และติดตั้งไม่ดี การแก้ไขอาจทำได้ ไม่สะดวกนัก เนื่องจากมีพื้นที่จำกัด ก็พออนุโลมให้ใช้น้ำยาหรือสารเคมีกำจัด สิ่งอุดตันแทนเครื่องมือดังกล่าวได้ แต่พึงระลึกไว้เสมอว่า สารเคมีกำจัด สิ่งอุดตันโดยเฉพาะเกล็ดโซดาไฟ (Sodium Hydroxide) นั้น มีฤทธิ์ค่อนข้างรุนแรง อาจจะกัดกร่อนท่อจนได้รับความเสียหาย ดังนั้นเราก็ควรปฏิบัติตามคำแนะนำ อย่างเคร่งครัด

TIPS ไม่เทน้ำมันที่ใช้แล้วลงท่อระบายน้ำในอ่างซิงค์เด็ดขาด ควรหาภาชนะ เช่นถ้วยเซรามิกมาใส่แทน และไม่ทิ้งเศษอาหารหรือขยะที่เหลือจาก การรับประทานอาหารลงท่อระบายน้ำทิ้งโดยตรง

หน้าบานตู้ปิดไม่สนิท

บานพับถ้วยเป็นอุปกรณ์ประกอบบานตู้ที่ได้รับความนิยมจาก
ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์อย่างแพร่หลาย แต่ถ้าเราพบว่าหน้าบานตู้เสื้อผ้า
หรือหน้าบานตู้ครัวปิดได้ไม่สนิทหรือไม่นุ่มนวลเหมือนก่อน เราสามารถ
แก้ไขได้ด้วยการขันสกรูที่ตัวบานพับ โดยใช้ไขควงเพียงตัวเดียว
ซึ่งทำได้ 3 ทิศทาง คือ การปรับด้านข้าง การปรับด้านความสูง
และการปรับด้านความลึก

ขั้นตอนการทำงาน

1 การปรับด้านข้าง (การปรับซ้าย – ขวา)การปรับหน้าบานตู้ไปทางด้านข้างในแนวราบ (ซ้ายมือหรือขวามือ) ด้วยการ ขันสกรูตัวหน้าสุดของบานพับถ้วย โดยสามารถปรับได้ 1 – 3 มิลลิเมตร เหมาะกับการแก้ปัญหาในกรณีที่หน้าบานตู้เกยทับกันหรือปิดได้ไม่สนิท

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

2 การปรับด้านความสูง (การปรับขึ้น – ลง)การปรับหน้าบานตู้ให้สูงหรือต่ำด้วยการขันสกรูที่บริเวณขารองหนุนของ
บานพับถ้วยทั้งตัวบนและล่าง โดยสามารถปรับได้ไม่เกิน 2 มิลลิเมตร
เหมาะกับการแก้ปัญหาบานตู้ตกหรือไม่ได้ระดับ

3 การปรับด้านความลึก (การปรับลึก – ตื้น)การปรับความลึก – ตื้นของหน้าบานตู้ด้วยการขันสกรูตัวท้ายสุดที่บริเวณ แขนบานพับถ้วย โดยสามารถปรับได้ 1 – 3 มิลลิเมตร มักใช้แก้ปัญหาการ เสียดสีกันระหว่างตัวตู้และหน้าบาน เนื่องจากมีระยะห่างจากโครงตู้น้อยเกินไปนอกจากนี้บานพับถ้วยคุณภาพสูงบางรุ่นยังสามารถปรับความแรงของสปริง เพื่อเพิ่มหรือลดความแรงของการปิดหน้าบานได้ ทำให้การปิดประตูทำได้ นุ่มนวลยิ่งขึ้น

งานช่างที่มักพบเจอในบ้าน อาทิ สนิมกินรั้ว บ้าน สีทาผนังลอกล่อน รวมถึงเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ในบ้านใช้การไม่ได้ เรื่องเหล่านี้ล้วนเป็นปัญหาที่บ้าน แสนรักของเรามักประสบ บางสิ่งแม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ หากปล่อยให้ลุกลามก็อาจกลายเป็นเรื่องใหญ่โตได้ ยุคนี้เป็น ยุคแห่งการประหยัด อะไรที่ซ่อมเองได้ก็เป็นสิ่งที่ดีที่ควรทำ ไล่มาตั้งแต่รั้วบ้านไปจนถึงฝ้าเพดาน โดยขอหยิบยกตัวอย่าง งานซ่อมแซมที่เราต้องพบเจอกันอยู่บ่อย ๆ อย่ารอช้า... เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม แล้วมาเริ่มลงมือซ่อมกันดีกว่า

TIPS หากการปรับหน้าบานตู้ไม่สามารถทำได้เพราะบานพับถ้วยเสีย แนะนำ ให้ซื้อมาเปลี่ยนใหม่ แต่บานพับถ้วยนั้นมี 3 รูปแบบ ได้แก่ แบบทับขอบ แบบกลางขอบ และแบบในขอบ จะใช้งานแทนกันไม่ได้ เพื่อความชัวร์ ให้นำบานพับถ้วยที่เสียไปเปรียบเทียบที่ร้านขายอุปกรณ์เฟอร์นิเจอร์ดีที่สุด

รอยด่างดวงบนฝ้าเพดาน

หากเราเป็นคนช่างสังเกตและลองเงยหน้าขึ้นดูฝ้าเพดานของบ้าน สักหน่อย อาจพบคราบสกปรกที่ไม่พึงประสงค์บนฝ้าเพดานสีขาวๆ ก็เป็นได้ บางรายอาจเจอหนักกว่านั้น มีทั้งเชื้อราและมอสส์สีเขียวๆ พาเหรดกันขึ้นเต็มฝ้าไปหมด เมื่อเห็นอาการแบบนี้ไม่ต้องตกใจ เพราะเราแก้ไขได้

ขั้นตอนการทำงาน

1 หาสาเหตุว่าฝ้าเพดานที่เป็นรอยด่างดวงนั้นเกิดการรั่วซึมที่จุดใด เช่น ถ้าหลังคารั่วหรือแตกร้าวก็จัดการซ่อมแซมจุดบกพร่องดังกล่าวให้เรียบร้อยก่อน กรณีฝ้าเพดานเป็นแบบทีบาร์ แนะนำให้รื้อฝ้าในส่วนที่เสียหายออกแล้ว เปลี่ยนเป็นแผ่นใหม่แทน แต่ถ้าฝ้าเพดานเป็นแบบฉาบเรียบก็ต้องใช้คัตเตอร์ หรือเลื่อยเจาะฝ้าเจาะในส่วนที่เป็นเชื้อราหรือบวม

2 ตัดแผ่นยิปซัมชิ้นใหม่หรือใช้แผ่นซ่อมยิปซัมมาปิดแทน โดยให้ขอบ
ของแผ่นกว้างกว่าช่องว่างเล็กน้อย แล้วใช้อะคริลิกอุดโป๊อุดรอยต่อ
จากนั้นทำความสะอาดพื้นผิวแล้วทาสีตกแต่งให้ใกล้เคียงกับของเดิม

TIPS สำหรับผู้ที่คิดจะใช้กระดาษทรายขัดรอยคราบสกปรกต่างๆ บนแผ่นยิปซัม แล้วทาสีทับเลย เนื่องจากเห็นว่าง่ายและสะดวกดีนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควร กระทำอย่างยิ่ง เพราะว่าเชื้อรายังคงเกิดขึ้นได้อีก และคราวนี้อาจลุกลาม ไปยังบริเวณอื่นๆ ได้ แทนที่จะเป็นการประหยัด เราอาจต้องเรียกช่าง มืออาชีพมาช่วยรื้อฝ้าเพดานทั้งหมดเลยก็เป็นได้

เปลี่ยนมุ้งลวด

เพราะลมธรรมชาติของบ้านเรายังคงช่วยสร้างการหมุนเวียนของอากาศ ได้ดี โดยไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอากาศกันตลอดทั้งวัน หลายบ้านจึงนิยม ติดมุ้งลวดเพื่อเป็นตัวช่วยกรองทั้งฝุ่นและแมลงโดยที่ยังคงมีช่องทางรับลม ธรรมชาติภายนอกให้เข้ามาในบ้านได้ แต่ถ้ามุ้งลวดขาดหรือชำรุดจนต้อง เปลี่ยนใหม่ เรามาหาวิธีการซ่อมแซมกันดู

ขั้นตอนการทำงาน

1 ถอดมุ้งลวดออกมาแล้วใช้ไขควง แงะขอบเส้นยางเก่าที่มีไว้สำหรับกด มุ้งลวดออกให้หมดทั้ง 4 ด้าน จากนั้น นำแผ่นมุ้งลวดเก่าออกมา

2 วัดขนาดมุ้งลวดใหม่อย่างง่ายๆ ด้วยการทาบไปบนกรอบที่มีอยู่ โดยกะให้เหลือขอบเผื่อทั้ง 4 ด้านไว้ ประมาณ 1 – 1.5 นิ้ว แล้วตัด ส่วนที่เป็นมุมให้เฉียง 45 องศา

3 ใช้ที่รีดขอบยางกดมุ้งลวดไปตามขอบบาน ทั้ง 4 ด้าน จากนั้นใส่ยางลงบนขอบบานมุ้งลวด และใช้ที่รีดขอบยางค่อยๆ กดลงไปให้แน่นอีกครั้ง

4 ตัดแต่งขอบมุ้งลวดที่เหลือ ออกทิ้งให้เรียบร้อยด้วยคัตเตอร์

TIPS มุ้งลวดมีให้เลือกใช้หลายประเภทตามความเหมาะสม ได้แก่

มุ้งลวดอะลูมิเนียม มีความแข็งแรง เงางาม หน้ากว้าง 36 นิ้ว ราคาประมาณเมตรละ 70 บาท มีสีเงินกับสีดำ แต่ข้อเสียคือ เวลาขาด อาจมีส่วนแหลมคมทำให้เกิดอันตรายได้ และไม่เหมาะกับบ้านที่อยู่ใกล้ทะเล เพราะอะลูมิเนียมจะผุกร่อนได้ง่าย

มุ้งไฟเบอร์ มีความอ่อนนุ่ม ไม่ลามไฟ หน้ากว้าง 36 นิ้ว ราคา ประมาณเมตรละ 90 บาท และมีหน้ากว้างให้เลือกอีกหลายขนาด จึงเหมาะกับ บานประตู – หน้าต่างขนาดใหญ่ แต่ข้อเสียคือ ฉีกขาดง่าย

มุ้งไนลอน ซึ่งเป็นใยสังเคราะห์ มีเส้นใยเหนียวและหนา จึงมีความ ทนทาน หน้ากว้าง 36 นิ้ว ราคาประมาณเมตรละ 40 บาท ข้อเสียคือเส้นใยค่อนข้างหนา อากาศถ่ายเทไม่ค่อยดี


เรื่อง : คันยิก้า

ภาพประกอบ : เอกรินทร์ พันธุนิล

ภาพประกอบปก : Freepik

อัพเดตเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับบ้านและสวนทุกวันที่ : facebook.com/baanlaesuanmag