NPDA Studio
- ที่อยู่ : 127/126 ซอยวิภาวดีรังสิต 60 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ
- โทรศัพท์ : 08-1110 – 6867
- Facebook : NPDAstudio
- www.npdastudio.com
เมื่อต่อสายไฟ จำเป็นต้องหุ้มจุดต่อสายด้วยฉนวน ซึ่งนิยมใช้ เทปพันสายไฟ โดยควรเลือกใช้ เทปพันสายไฟ ที่ได้มาตรฐาน เนื้อเทปมีความเหนียว เมื่อพันสายไฟแล้วแนบกับสายได้ดี ที่สำคัญคือ วิธีการพันเทปพันสายไฟให้ถูกวิธีและไม่หลุดง่าย เพื่อช่วยป้องกันการเกิดไฟฟ้าลัดวงจร เทปพันสายไฟ 1.การพันเทปพันสายไฟรอบรอยต่อแบบหางเปีย เริ่มต้นด้วยการใช้คีมพับเก็บปลายสายที่ตีเกลียวแล้ว จากนั้นพันเทปจากตำแหน่งปลอกสายเส้นใดเส้นหนึ่ง โดยห่างจากตำแหน่งปลอกสายประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร แล้วพันขึ้นไปให้สุดเส้นลวดทองแดงที่ตีเกลียว จากนั้นพันย้อนกลับมายังที่เดิม โดยพันไปกลับแบบเดิม 2-3 รอบ (เน้นพันเทปบริเวณจุดจบปลายสาย เพื่อเสริมความแข็งแรงและป้องกันไฟรั่ว) และรอบสุดท้ายให้พันรวบสายไฟทั้งสองเส้นที่มีฉนวนหุ้มแล้วเข้าด้วยกัน ตัดเทปออกเมื่อพันเสร็จ วิธีนี้จะช่วยป้องกันเทปพันสายไฟหลวมหรือคลายตัวได้ดีกว่าการเริ่มพันเทปบนสายไฟที่รวบเข้าด้วยกันตั้งแต่แรก 2.การพันเทปพันสายไฟรอบรอยต่อแบบรับแรงดึง พันเทปจากตำแหน่งปลอกสายเส้นใดเส้นหนึ่ง โดยห่างจากตัวนำประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร จากนั้นพันรอบรอยต่อสายไปเรื่อยๆ และให้เทปทับเลยขึ้นไปบนส่วนฉนวนสายไฟอีกด้านหนึ่ง แล้วพันเทปไปและกลับรอบตัวนำสายไฟแบบนี้อีก 2-3 รอบ เพื่อให้มีความหนาเพียงพอต่อการป้องกันทางไฟฟ้า และป้องกันตัวเทปพันสายไฟฉีกขาดหรือชำรุดภายหลัง 3.การพันเทปพันสายไฟรอบรอยต่อของสายพีวีซีคู่ เริ่มต้นเหมือนกับการพันเทปพันสายไฟรอบรอยต่อแบบรับแรงดึง โดยพันเทปเลยขึ้นไปบนส่วนฉนวนสายไฟอีกด้านเพียงเล็กน้อย จากนั้นพันเทปไปและกลับรอบตัวนำสายไฟอีก 2-3 รอบ แล้วทำซ้ำแบบเดิมกับสายไฟอีกเส้นหนึ่งเช่นเดียวกัน เมื่อพันเทปรอบตัวนำสายไฟทั้งสองเส้นเสร็จแล้ว ให้พันรวบสายไฟทั้งสองเส้นที่มีฉนวนหุ้มแล้วเข้าด้วยกัน ทั้งนี้ระหว่างใช้เทปพันสายไฟ เราต้องออกแรงดึงเทปให้ยืดตัวเล็กน้อย และพันให้เทปแนบสนิท (เทปไม่ยับ) จะทำให้เทปพันสายไฟยึดติดแน่นกับสายไฟได้ดีและไม่หลวม […]
บ้านในรูปแบบคอนโดที่ทุกองค์ประกอบคิดมาเพื่อนิยามคำว่า 'บ้าน' อย่างแท้จริง /คอนโดมิเนียมทันสมัย สะดวกสบาย โลเคชั่นดีกลางซอยเอกมัย ออกแบบลงตัว และอบอุ่นร่มรื่นเหมือนบ้าน
เห็ด คือ ส่วนหนึ่งที่เชื้อราชั้นสูงสร้างขึ้นมาเหนือดิน เพื่อ ใช้ในการแพร่ขยายสปอร์ออกไป และ เชื้อราเองก็ไม่ใช่พืชจึงไม่มีคลอโรฟิลล์ในการสังเคราะห์แสง เพื่อสร้างอาหาร แต่ต้องอาศัยการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุต่างๆ ในการเจริญเติบโต การปลูก เห็ดมิลกี้ จึงไม่จำเป็นต้องทำแปลงอยู่ด้านนอกอาคาร เพื่อ ให้ได้รับแสงแดดเหมือนกับพืชผักที่เราปลูกกัน ไม่จำต้องรดน้ำ แต่เพียงแค่มีพื้นที่ภายในบ้านที่สะอาด ไม่โดนแดด ไม่มีลม และ มีอินทรีย์วัตถุให้เขาได้ย่อยสลาย เพื่อ ใช้ในการเจริญเติบโต ก็สามารถเลี้ยงเห็ดไว้เก็บกินภายในบ้านได้แล้ว เห็ดมิลกี้เป็นเห็ดยักษ์ที่มีกลิ่นเหมือนนม แต่พอสุกแล้วกลิ่น และ รสชาติจะเหมือนกับอาหารทะเล และ สามารถนำมาปรุงอาหารได้หลากหลายจนไม่ซ้ำเมนูเลย แต่ก่อนจะหาเชื้อเห็ดมาปลูกอย่างน้อยอยากให้รู้จักเห็ดมิลกี้มากขึ้นกันก่อน เห็ดมิลกี้ (Milky Mushroom) มาจากหิมาลัย เห็ดมิลกี้ยังมีชื่อหนึ่งที่ เรียกกันว่า เห็ดหิมาลัย ซึ่งมาจากถิ่นกำเนิดของเห็ดชนิดนี้ ที่มาจากหิมาลัยทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย โดยเห็ดชนิดนี้มีลักษณะเด่นที่ เป็นเห็ดขนาดใหญ่ หมวกเห็ดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-14 ซม. ก้านอวบหนาขนาดใหญ่ มีสีขาวทั่วทั้งต้น เนื้อแน่น เส้นใยสูง สามารถนำมาทำอาหารได้หลากหลาย มีสรรพคุณช่วยลดน้ำตาล และ คอเลสเตอรอลในเลือด และ ช่วยให้ขับถ่ายดีขึ้น […]
บริษัท เอเอ็มอี อิมเมจิเนทีฟ จำกัด
ในเครือ บริษัท อมรินทร์ คอร์เปอเรชั่นส์ จำกัด (มหาชน)
Tel : 0-2422-9999 ต่อ 4220
Email : [email protected]
0-2422-9999 ต่อ 4180
(จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 18.00 น)
[email protected]