บ้านกล่องสีดำของนักออกแบบ บนที่ดินสี่เหลี่ยมคางหมูขนาด 18 ตารางวา

ที่ดินขนาดแค่ 18 ตารางวาในซอยสุขุมวิท 67 นี้เป็นที่ตั้งของ บ้านสีดำหลังเล็ก ซึ่งเปรียบเสมือนห้องทดลองทางการออกแบบของ คุณหนึ่ง – ภานุพล ศีลแดนจันทร์

JARUN 69 บ้านหลังเล็ก ดีเทลลึก

บริบทร่วมสมัยของย่านฝั่งธนฯ ขับเน้นให้ บ้านหลังเล็ก เส้นสายเฉียบเรียบดูโดดเด่นเป็นพิเศษ ประตูรั้วเหล็กฉีกสีขาวโปร่ง เป็นเหมือนเลเยอร์บางๆ ที่ช่วยกรองสายตาผู้คนที่ผ่านไปมา โดยไม่ทำให้พื้นที่ด้านหน้าดูอึดอัดจนเกินไป แม้ตัวบ้านจะดูเรียบง่าย แต่กว่าจะออกมาเหมาะเจาะลงตัวทั้งรูปลักษณ์ และการใช้งาน ย่อมผ่านการคิดออกแบบมาอย่างลงลึกในทุกดีเทล เมื่อสองปีก่อน คุณปิยะบุตร ซุ่นทรัพย์ วางแผนสร้างเรือนหอหลังใหม่บนที่ดินขนาด 47 ตารางวาในซอยเล็กๆ บนถนนจรัญสนิทวงศ์ จึงปรึกษาเพื่อนสถาปนิกอย่าง คุณกาจวิศว์ ริเริ่มวนิชย์ จาก Physicalist ผู้รับหน้าที่ถ่ายทอดทุกความละเอียดความต้องการให้ บ้านหลังเล็ก หลังนี้กลายเป็นรูปธรรมอย่างสมบูรณ์           “ตอนแรกเจ้าของบ้านทำโมเดลสามมิติมาเรียบร้อยเพื่อให้ดูรูปแบบที่อยากได้ แต่ด้วยความที่ที่ดินแปลงนี้มีขนาดค่อนข้างเล็ก และเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู แบบร่างเบื้องต้นเลยมีหลายจุดที่ผิดกฎหมายควบคุมอาคาร จึงต้องนำฟังก์ชั่นที่ต้องการทั้งหมดมาจัดวางใหม่” เมื่อโจทย์หลักคือการจัดสรรสเปซภายในให้กว้างขวางที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในพื้นที่จำกัด โดยไม่ขัดต่อกฎหมาย สถาปนิกจึงเริ่มต้นจากการกำหนด “แนวผนังทึบ” ที่เว้นระยะจากแนวเขตที่ดินรูปสี่เหลี่ยมคางหมูโดยรอบด้านละ 50 เซนติเมตร* เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่ใช้สอยภายใน บ้านหลังเล็ก ให้ใหญ่ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้   ในกรณีนี้  ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 บ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่ไม่เกิน 300 ตารางเมตร ให้ก่อสร้างผนังทึบห่างจากแนวเขตที่ดินอย่างน้อย 50 […]

อยู่ร่วมกับธรรมชาติใน บ้านชั้นเดียวขนาดเล็กสไตล์โมเดิร์น

การมีบ้านที่โอบล้อมด้วยพื้นที่สีเขียวน่าจะเป็นความฝันใครหลายคน เช่นเดียวกับ ครอบครัวนรธีร์ดิลก ที่เลือกสร้าง บ้านชั้นเดียวสไตล์โมเดิร์น ในป่ายางเขียวชอุ่ม

ถอดรหัสงานออกแบบจาก 5 บ้านหลังเล็ก

เคยสงสัยกันไหมว่าการทำให้บ้านเล็กอยู่สบายได้อย่างไม่อึดอัด นั้นมีการออกแบบอย่างไร เราจะขอพาไป ถอดรหัสงานออกแบบจากบ้านหลังเล็ก ทั้ง 5 หลังนี้

KYOMACHI HOUSE บ้านหลังเล็ก อยู่สบายได้ทั้งสี่ฤดู

การออกแบบบ้านญี่ปุ่นที่มีความเชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ทำให้เจ้าของ บ้านหลังเล็ก ขนาด 110 ตารางเมตรนี้ ได้สัมผัสกับทั้งสี่ฤดูของญี่ปุ่นได้อย่างเต็มที่

A Little Big House บ้านเล็กในป่าใหญ่

“บ้านหลังเล็กนี้ตั้งใจให้เป็นโรงจอดรถ และออกแบบห้องนอนสำหรับเพื่อนๆ เวลามาเยี่ยมจะได้ค้างได้ ไม่ต้องขับรถกลับดึกๆดื่นๆ “

5 ไอเดียทำให้ บ้านหลังเล็ก ดูกว้างและโปร่งตามากยิ่งขึ้น

บ้านหลังเล็ก สามารถดูกว้างและโปร่งตามากขึ้น หากมีการออกแบบช่องให้แสงธรรมชาติส่องเข้ามาได้ รวมถึงการจัดแสงไฟภายในบ้านอย่างพอดี

บ้านน้อยกลางทุ่งที่มองเห็นวิวดอยหลวงเชียงดาว

2 บ้านหลังเล็ก ของเพื่อนที่ตั้งใจปลูกไว้ใกล้กันกลางทุ่งนา หลังแรกเป็นบ้านครึ่งดินผสมคอนกรีตครึ่งไม้ ส่วนอีกหลังเป็นบ้านสีขาวกลิ่นอายโคโลเนียล

3×9 HOUSE บ้านเล็กไม่อึดอัด สอดแทรกธรรมชาติอย่างแยบยล

แม้มีพื้นที่จำกัดแต่บ้านยังดูโล่งเป็น บ้านเล็กไม่อึดอัด สามารถอยู่อาศัยได้อย่างสบายใจ และสบายกระเป๋าสตางค์

โฮมออฟฟิศ ที่ดึงธรรมชาติมาเป็นส่วนหนึ่งภายใน

การดึงธรรมชาติเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งภายใน บ้านหลังเล็ก นี้ให้มากที่สุดแม้ว่าพื้นที่ของบ้านจะน้อยแต่เราก็สามารถสร้างกรอบของอาคารที่ปิดล้อมจากบริบท

Materior Studio โฮมออฟฟิศสถาปนิกและสตูดิโอเครื่องหนังที่สร้างจากสองมือและหัวใจ

โฮมออฟฟิศ เรียบง่าย แต่น่าอยู่ ของคู่รักสถาปนิกและเจ้าของแบรนด์รองเท้าหนัง พื้นที่พักอาศัยและสร้างสรรค์สิ่งท่ี่รักจากสองมือของตัวเอง

MODERN FARMHOUSE บ้านกลางแปลง บ้านญี่ปุ่น เรียบโล่ง โปร่งสบายในพื้นที่เกษตรกรรม

บ้านญี่ปุ่น หลังนี้ไม่ใช่แค่ที่พักอาศัย แต่ยังเป็นเหมือนกล่องบรรจุความทรงจําของคนในครอบครัวที่ไม่มีวันเต็ม ทั้งยังมีสวนหน้าบ้านเป็นแปลงเกษตรที่มอบความสุขและความอิ่มใจให้กับทุกคนในครอบครัว

JOURNEY OF THE INNER LITTLE GIRL มุมเด็กสาวใน บ้านหลังเล็ก

เปิด บ้านหลังเล็ก สุดหวานตามสไตล์แฟชั่นดีไซเนอร์สาว คุณเอ๋ย -พิมพ์ดาว สุขะหุต เจ้าของแบรนด์เสื้อผ้า Sretsis