Vessu Collaboration

ที่อยู่ : Room 63-64 ,239/2 Lumpini Building ถ. สารสิน แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 เบอร์โทรศัพท์ : 02 101 0827 Facebook : Vessu Collaboration Email : [email protected]

Let’s design

ที่อยู่ : 898 นวมินทร์ 76 ถนนนวมินทร์ แขวงนวลจันทน์ กรุงเทพมหานคร 10240 เบอร์โทรศัพท์ : 081 438 5111 Facebook : Let’s design Email : [email protected]

RICE POPPER DESIGN STUDIO

ที่อยู่ : ตำบล น้ำชำ อำเภอสูงเม่น แพร่ 54130 เบอร์โทรศัพท์ : 094 693 3555 Facebook : Rice Popper Design Studio Email : [email protected]

INLY STUDIO

ที่อยู่ : 345 68 ตำบล แม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50100 เบอร์โทรศัพท์ : 06-4596-9744 Facebook : INLY STUDIO Website : INLY STUDIO Email : [email protected]

Wardwai Architect and Design

ที่อยู่ : ตำบล บึงคำพร้อย อำเภอลำลูกกา ปทุมธานี 12150 เบอร์โทรศัพท์ : 061 396 6245 Facebook :Wardwai Architect and Design Email : [email protected]

เยี่ยมชม สตูดิโอนักออกแบบ กลุ่ม “อิสรภาพ”

พาไปเยี่ยมชม สตูดิโอนักออกแบบ สถานที่ทำงานของนักออกแบบผู้มีอิสระทางความคิด “อิสรภาพ” ดีไซน์สตูดิโอที่มีผลงานโดดเด่นด้วยงานดีไซน์ร่วมสมัย กับการหยิบยกบริบทแบบไทย ๆ มาต่อยอดจนกลายเป็นไอเดียสนุก ๆ ในแบบที่ไม่มีใครคาดคิด เปลี่ยนอาคาร “เม้งกวงตี่” อาคารพาณิชย์ 4 ชั้น ที่เคยเป็นโรงงานคอตต้อนบัดเก่าในซอยย่านเจริญนคร สู่อาณาจักรของกลุ่ม “อิสรภาพ” กลุ่มนักออกแบบ 4 คน จาก 3 สตูดิโอ คือ คุณณิชภัค ต่อสุทธิ์กนก และคุณวนัส โชคทวีศักดิ์ จาก ease Studio คุณธีรพจน์ ธีโรภาส จาก Kitt-ta-khon และคุณรัฐธีร์ ไพศาลโชติสิริ จาก SATAWAT อาคารตึกแถวอายุกว่าสามทศวรรษแห่งนี้เป็นมรดกตกทอดของครอบครัวคุณณิชภัค การปรับปรุงครั้งใหญ่เริ่มต้นขึ้น เมื่อได้เวลาที่ ease Studio ต้องขยับขยาย เธอจึงชวนเพื่อนนักออกแบบร่วมอุดมการณ์มาร่วมแชร์ทั้งพื้นที่ทำงานและแนวคิดสร้างสรรค์ ให้ที่นี่กลายเป็นพื้นที่ทำงานเวิร์กชอป และพื้นที่จัดแสดงสำหรับทุกการสร้างสรรค์ของพวกเขา เดิมตึกแถวนี้เคยเป็นโรงงานคอตต้อนบัดอยู่หลายสิบปี และอดีตซอยนี้ก็เต็มไปด้วยธุรกิจห้างร้าน ทั้งโรงงานทอผ้า โรงงานทำพลั่ว โรงงานทำป้ายโฆษณา ไปจนถึงร้านตัดกางเกงยีน […]

ศรัณย์ เย็นปัญญา และ 56thStudio กับ 7 ปีของบทบาทที่มากกว่าการเป็นนักออกแบบ

ทำความรู้จักการทำงานของ ศรัณย์ เย็นปัญญา และ 56thStudio ให้มากขึ้น รวมถึงแนวคิดต่อแนวทางการออกแบบที่ไม่เหมือนใครกับ 7 ปี ที่เขานำงานออกแบบสีสันจัดจ้าและรูปลักษณ์สุดแสบ และทำงานสร้างสรรค์อื่น ๆ อย่างการสร้างแบรนด์ สไตลิ่ง หรือออกแบบภาพลักษณ์ มาผลักดันวงการออกแบบให้สร้างสรรค์ยิ่งขึ้น

PLASTIC STONE TILES จากขยะพลาสติกเหลือทิ้งสู่กระเบื้องหินพลาสติกหลากเฉดสี

Enis Akiev เปลี่ยนบรรจุภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งเป็นขยะ ให้กลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่ในรูปแบบของกระเบื้องเลียนแบบกระบวนการก่อตัวของหินตามธรรมชาติ

งานสภาสถาปนิก´19 งานประชุมนานาชาติทางสถาปัตยกรรมแสดงเทคโนโลยีก่อสร้าง

งานสภาสถาปนิก´19 ครั้งแรกของไทยกับงานประชุมนานาชาติทางสถาปัตยกรรม ครอบคลุมทุกสาขาวิชาชีพ และแสดงเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง

งานทดลองที่เปลี่ยนกระสอบและกระดาษให้กลับมาเป็นถุงใส่ของ

คุณบาส-ศิรวิชญ์ ชัยอภิสิทธิ์ เจ้าของผลงานและผู้ก่อตั้งแบรนด์ Dhammada Garden ช่วยยืนยันความคิดนี้อีกที เมื่อเขาเล่าว่า “ผมชอบความธรรมดาสามัญซึ่งมีความพอดี

สำรวจสินค้าไลฟ์สไตล์ช่างคิดโดยเหล่าเลือดใหม่ จากเวที DESIGNERS’ ROOM & TALENT THAI 2019

โครงการ Designers’ Room & Talent Thai 2019 ในปีนี้ จากผู้สมัครเข้าร่วมกว่า 160  แบรนด์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ได้มีการคัดเลือก 67 แบรนด์ สุดท้าย เข้าร่วมโครงการในปีนี้

นักออกแบบไทย เชียร์ทีมชาติใดในฟุตบอลโลก 2018

คุณเชียร์ทีมชาติใดใน ฟุตบอลโลก 2018 หนึ่งในคำถามที่ room ชักชวน 10 นักออกแบบในสาขาต่าง ๆ มาร่วมแสดงความคิดเห็นในหลากหลายประเด็นสนุกๆ เกี่ยวกับฟุตบอลโลก ซึ่งสะท้อนถึงความคลั่งไคล้ในกีฬาลูกผู้ชายที่พวกเขามี (ไม่ต่างจากงานดีไซน์ที่พวกเขาทำเป็นอาชีพ)

เยือนสตูดิโองานไม้ จุดเริ่มต้นดีไซน์ยั่งยืนของ พิษณุ นำศิริโยธิน

ตาม room ไปเยี่ยมเยือนสตูดิโองานไม้สุดสงบใจกลางแดนอีสานของ พิษณุ นำศิริโยธิน หรือ “ครูณุ” ของนักศึกษาหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สถาบันอาศรมศิลป์ เขาคือนักออกแบบผู้มุ่งมั่นถ่ายทอดความรู้ และความหลงใหลในวัสดุ “ไม้” ผ่านแนวคิดการสร้างสรรค์ที่ยั่งยืน

สำรวจนิทรรศการ DESIGN PLANT ในงาน TIF EXPO 2018

ตาม room ไปชมนิทรรศการ Design PLANT ที่งาน TIF EXPO 2018 พบกับเฟอร์นิเจอร์ และของแต่งบ้านดีไซน์เด็ดจากทั้งนักออกแบบชั้นนำ และกลุ่มนักออกแบบรุ่นใหม่ไฟแรงจาก Emerging PLANT เมื่อ 6 ปีก่อน Design PLANT ถูกก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มนักออกแบบเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่งรุ่นใหม่ โดยมุ่งสร้างความร่วมมือระหว่างดีไซน์แบรนด์ เพื่อยกระดับวงการออกแบบ และอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไทยให้เป็นที่รู้จัก และมีคุณภาพทัดเทียมในตลาดโลก ความร่วมมือที่ต่อเนื่องนี้ก่อให้เกิดพลังสร้างสรรค์ ไปพร้อมๆ กับการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และทักษะของนักออกแบบภายในกลุ่ม ทั้งยังเปิดรับนักออกแบบรุ่นน้อง เพื่อแบ่งปันความเชื่อ จุดยืนแนวคิด และวิถีทางออกแบบอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ DesignPLANT ค่อยๆ เติบโตอย่างต่อเนื่อง และกลายเป็นกลุ่มนักออกแบบที่น่าจับตาที่สุดกลุ่มหนึ่ง ณ ตอนนี้ ภายในงานTIF EXPO (Thailand International Furniture Expo) ปีนี้ DesignPLANT พาเราย้อนกลับไปกลับไปรู้จักกับดีไซเนอร์ผู้ก่อตั้ง และ Design PLANT รุ่นแรก ที่วันนี้ได้กลายเป็นดีไซน์แบรนด์ของไทยที่ได้รับการยอมรับระดับสากล ไม่ว่าจะเป็น คุณดุลยพล ศรีจันทร์, Atelier […]

BANGKOK OBJECTS นิทรรศการสะท้อนความเป็นกรุงเทพฯ ผ่านการ REDESIGN สิ่งของใกล้ตัว

นิทรรศการ Bangkok Object โดยกลุ่มนักออกแบบ DesignPLANT นำ Object ใกล้ตัวที่หลายคนมองเห็นแต่มองข้ามไป กลับมานำเสนอแง่มุมของกรุงเทพฯผ่านการ Redesign โดยไม่จำกัดแนวคิดและรูปแบบ

เปิดผลงานบ้านหลังแรกของสถาปนิก “อันโตนีโอ เกาดี” เจ้าพ่อสถาปัตยกรรมสไตล์ ART NOUVEAU

บนผืนดินของประเทศที่ยังรอบทสรุปของความขัดแย้ง “Casa Vicens”  งานสถาปัตยกรรมฝีมือของ อันโตนีโอ เกาดี มรดกโลกแห่งเมืองบาร์เซโลนา เมืองใหญ่ประจำแคว้นกาลตาลุญญาซึ่งรอการได้รับเอกราชจากประเทศสเปนมานานแสนนาน เพิ่งเปิดให้ผู้คนเข้าเยี่ยมชมในฐานะ “พิพิธภัณฑ์” เป็นครั้งแรก หลังปิดประตูอยู่เบื้องหลังประวัติศาสตร์มานานกว่า 130 ปี “Casa Vicens” นับเป็นสถาปัตยกรรมที่สร้างเสร็จชิ้นแรกสุดของ อันโตนีโอ เกาดี สถาปนิกเชื้อชาติกาตาลัน  สถาปัตยกรรมของเขาจัดว่าเป็นสไตล์เฉพาะของชาวกาตาลันที่เรียกว่า “Modernisme” ซึ่งเทียบเคียงและได้รับอิทธิพลโดยตรงจากสถาปัตยกรรมสไตล์ “Art Nouveau” ที่เป็นที่นิยมอย่างมากในหลายประเทศของยุโรปในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึง 20  (Modernisme บางครั้งก็ถูกเรียกว่า Catalan Modernism) งานออกแบบของเกาดีไม่พ้นที่จะอยู่ในกระแสเดียวกับหลายสถาปนิกชาวกาตาลันผู้ร่วมสมัยกับเขา หากแต่ด้วยเส้นสายของงานออกแบบที่โดดเด่นเฉพาะตัว ก็ทำให้เกาดีกลายเป็นไอคอนของยุคสมัยร่วมถึงเป็นไอคอนของ สถาปัตยกรรม สไตล์ Modernisme ไปโดยปริยาย เกาดีออกแบบ Casa Vicens ในขณะที่เขาอายุ 31 ปี เป็นสถาปัตยกรรมหลังแรกที่ทำให้ชื่อของเขากลายเป็นที่รู้จัก และยังคล้ายเป็นเวทีแสดงฝีมือการออกแบบที่ไม่เหมือนใครอันจะปรากฏในงานออกแบบลำดับต่อๆ ไปของเขา โดยเฉพาะการใช้เส้นคดโค้ง ดึงสีสันและรูปทรงจากงานออกแบบในวัฒนธรรมต่างๆ มาเป็นแรงบันดาลใจ รวมถึงตีความรูปทรงจากธรรมชาติมาเป็นองค์ประกอบในสถาปัตยกรรม สิ่งเหล่านี้ปรากฏในหลายผลงานที่โลกต่างรู้จักดี เช่น Casa […]

3 เหตุผลที่ทำให้ CECILIE MANZ คือดีไซเนอร์แห่งปี 2018 ของ MAISON&OBJET

CECILIE MANZ คือดีไซเนอร์สาวคนล่าสุดที่ได้รับการรับเลือกให้เป็น Designer of the Year ประจำปี 2018 โดย MAISON & OBJET ดีไซน์แฟร์ที่ทรงอิทธิพลต่อแวดวงการออกแบบตกแต่งบ้านระดับโลก

MK-CK5 : RED BOXES ON THE MOVE สื่อสารตัวตนของแบรนด์ผ่านสถาปัตยกรรมที่สวยงาม

บุกอาณาจักร MK “MK Central Kitchen 5” ที่มาในคอนเซ็ปต์ Red Boxes on the Move กล่องสีแดงแห่งความสุข…